ปีที่ 12 ฉบับที่ 3 ประจำเดือน
ตุลาคม – ธันวาคม 2563

รางวัลผลงานวิจัยที่ได้รับการตีพิมพ์ในวารสารระดับนานาชาติ ประจำปีงบประมาณ 2563 (ตุลาคม – ธันวาคม)

ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.สุเทพ ทองงาม

อาจารย์ประจำคณะสถิติประยุกต์ สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์
ได้รับรางวัล 2 รางวัล ดังนี้

1.ชื่อบทความ “Solving the Travelling Problem of Thai Tourism, by Improved Ant Colony Optimization” ตีพิมพ์ในวารสาร International Journal of Innovation, Creativity and Change., อยู่ในฐานข้อมูล Scopus และจัดลำดับอยู่ใน SCImago ควอไทล์ที่ 2 ผู้วิจัยมีส่วนร่วมในผลงานร้อยละ 50 กับ Punyapas Chawaratthanarungsri มีส่วนร่วมในผลงานร้อยละ 50

2. ชื่อบทความ “Exploring Technology Influencers from Patent Data Using Association Rule Mining and Social Network Analysis”

ตีพิมพ์ในวารสาร Information (Switzerland),อยู่ในฐานข้อมูล Scopus และจัดลำดับอยู่ใน SCImago ควอไทล์ที่ 3 ผู้วิจัยมีส่วนร่วมในผลงานร้อยละ 50 กับ Pranomkorn Ampornphan มีส่วนร่วมในผลงานร้อยละ 50

รองศาสตราจารย์ ดร.พีรยุทธ เจริญสุขมงคล

อาจารย์ประจำวิทยาลัยนานาชาติ สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์
ได้รับรางวัล 9 รางวัล ดังนี้

1.ชื่อบทความ “Contributions of CSR perception to employees commitment and job satisfaction: Does personal income matter?” ตีพิมพ์ในวารสาร Kasetsart Journal of Social Sciences อยู่ในฐานข้อมูล Scopus และจัดลำดับอยู่ใน SCImago ควอไทล์ที่ 2 ผู้วิจัยมีส่วนร่วมในผลงานร้อยละ 50 กับ Manuja Koirala มีส่วนร่วมในผลงานร้อยละ 50

2. ชื่อบทความ “The effects of cultural intelligence on leadership performance among Chinese expatriates working in Thailand” ตีพิมพ์ในวารสาร Asian Business & Management (2020) อยู่ในฐานข้อมูล Scopus และจัดลำดับอยู่ใน SCImago ควอไทล์ที่ 2 ผู้วิจัยมีส่วนร่วมในผลงาน ร้อยละ 50 กับ Xiaoyun Guang มีส่วนร่วมในผลงาน ร้อยละ 50

3. ชื่อบทความ “The effectiveness of supervisor support in lessening perceived uncertainties and emotional exhaustion of university employees during the COVID-19 crisis: the constraining role of organizational intransigence”

ตีพิมพ์ในวารสาร The Journal of General Psychology อยู่ในฐานข้อมูล Scopus และจัดลำดับอยู่ใน SCImago ควอไทล์ที่ 2 ผู้วิจัยมีส่วนร่วมในผลงาน ร้อยละ 50 กับ Tipnuch Phungsoonthorn มีส่วนร่วมในผลงาน ร้อยละ 50

4. ชื่อบทความ “Stakeholder orientation’s contribution to firm performance The moderating effect of perceived market uncertainty” ตีพิมพ์ในวารสาร Management Research Review อยู่ในฐานข้อมูล Scopus และจัดลำดับอยู่ใน SCImago ควอไทล์ที่ 2 ผู้วิจัยมีส่วนร่วมในผลงานร้อยละ 50 กับ Ekawee Vaitoonkiat มีส่วนร่วมในผลงาน ร้อยละ 50

5. ชื่อบทความ “THE EFFECT OF CULTURAL INTELLIGENCE ON BURNOUT OF THAI CABIN CREW IN NON-NATIONAL AIRLINES MODERATED BY JOB TENURE”

ตีพิมพ์ในวารสาร ABAC Journal อยู่ในฐานข้อมูล Scopus และ จัดลำดับอยู่ใน SCImago ควอไทล์ที่ 3 ผู้วิจัยมีส่วนร่วมในผลงาน ร้อยละ 50 กับ Phenphimol Seriwatana มีส่วนร่วมในผลงาน ร้อยละ 50

6. ชื่อบทความ “Interaction effect of entrepreneurial orientation and stakeholder orientation on the business performance of firms in the steel fabrication industry in Thailand”

ตีพิมพ์ในวารสาร Journal of Entrepreneurship in Emerging Economies อยู่ในฐานข้อมูล Scopus และจัดลำดับอยู่ใน SCImago ควอไทล์ที่ 1 ผู้วิจัยมีส่วนร่วมในผลงาน ร้อยละ 50 กับ Ekawee Vaitoonkiat มีส่วนร่วมในผลงาน ร้อยละ 50

7. ชื่อบทความ “Does cultural intelligence promote cross-cultural teams’ knowledge sharing and innovation in the restaurant business

ตีพิมพ์ในวารสาร Asia-Pacific Journal of Business Administration อยู่ในฐานข้อมูล Scopus และจัดลำดับอยู่ใน SCImago ควอไทล์ที่ 2 ผู้วิจัยมีส่วนร่วมในผลงาน ร้อยละ 50 กับ Akaraphun Ratasuk มีส่วนร่วมในผลงาน ร้อยละ 50

8. ชื่อบทความ “Contribution of cultural intelligence to adaptive selling and customer oriented selling of salespeople at international trade shows: does cultural similarity matter?”

ตีพิมพ์ในวารสาร JOURNAL OF ASIA BUSINESS STUDIES อยู่ในฐานข้อมูล Scopus และจัดลำดับอยู่ใน SCImago ควอไทล์ที่ 2 ผู้วิจัยมีส่วนร่วมในผลงานร้อยละ 50 กับ Arti Pandey มีส่วนร่วมในผลงานร้อยละ 50

9. ชื่อบทความ “Dimensions of social media marketing capabilities and their contribution to business performance of firms in Thailand”

ตีพิมพ์ในวารสาร JOURNAL OF ASIA BUSINESS STUDIES อยู่ในฐานข้อมูล Scopus และจัดลำดับอยู่ใน SCImago ควอไทล์ที่ 2 ผู้วิจัยมีส่วนร่วมในผลงาน ร้อยละ 50 กับ Penpattra Tarsakoo มีส่วนร่วมในผลงาน ร้อยละ 50

ศาสตราจารย์ ดร.เทิดชาย ช่วยบำรุง

ผู้อำนวยการหลักสูตรปรัชญาดุษฎีบัณฑิต

อาจารย์ประจำคณะการจัดการการท่องเที่ยว สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์

ได้รับรางวัล 3 รางวัล ดังนี้

1. ชื่อบทความ “Accessibility for Wheelchair Tourists in Second Tier Tourism Cities of Thailand”

ตีพิมพ์ในวารสาร Talent Development & Excellence อยู่ในฐานข้อมูล Scopus และจัดลำดับอยู่ใน SCImago ควอไทล์ที่ 4 ผู้วิจัยมีส่วนร่วมในผลงาน ร้อยละ 50 กับ ดร.เกวลิน อังคณานนท์ มีส่วนร่วมในผลงาน ร้อยละ 50

2.ชื่อบทความ “Progress in Policy Promoting Second Tier Cities Tourism: Toward Tourism and Economic Growth”

ตีพิมพ์ในวารสาร Talent Development & Excellence อยู่ในฐานข้อมูล Scopus และจัดลำดับอยู่ใน SCImago ควอไทล์ที่ 4 ผู้วิจัยมีส่วนร่วมในผลงาน ร้อยละ 50 กับ ดร.อนุมาน จันทวงศ์ มีส่วนร่วมในผลงาน ร้อยละ 50

3.ชื่อบทความ “Hotel Website Quality Factors Influencing High- Quality Tourists’ Online Purchasing Intentions: A Luxury, Boutique Hotel in Bangkok”

ตีพิมพ์ในวารสาร International Journal of Innovation, Creativity and Change อยู่ในฐานข้อมูล Scopus และจัดลำดับอยู่ใน SCImago ควอไทล์ที่ 2 ผู้วิจัยมีส่วนร่วมในผลงานร้อยละ 50 กับ นายปราชญ์ ปุณณศุภารมย์ มีส่วนร่วมในผลงาน ร้อยละ 50

ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.กฤตกร นวกิจไพฑูรย์

อาจารย์ประจำคณะพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์
ได้รับรางวัล 1 รางวัล ดังนี้

1.ชื่อบทความ “Nonstandard Employment and Job Satisfaction across Time in China: Evidence from Chinese General Social Survey (2006–2012)”

ตีพิมพ์ในวารสาร Work, Employment and Society, อยู่ใน ฐานข้อมูล Scopus และจัดลำดับอยู่ใน SCImago ควอไทล์ที่ 1 ผู้วิจัยมีส่วน ร่วมในผลงาน ร้อยละ 80 กับ Can Tang มีส่วนร่วมในผลงาน ร้อยละ 20

ศาสตราจารย์ ดร.พิริยะ ผลพิรุฬห์

ผู้อำนวยการศูนย์ศึกษาพัฒนาการเศรษฐกิจ สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์
ได้รับรางวัล 1 รางวัล ดังนี้

1.ชื่อบทความ “Service facilities and hotel performance: empirical evidence from hotel-level data in Thailand”

ตีพิมพ์ในวารสาร International Journal of Services and Operations Management อยู่ในฐานข้อมูล Scopus และจัดลำดับอยู่ใน SCImago ควอไทล์ที่ 2 ผู้วิจัยมีส่วนร่วมในผลงานร้อยละ 50 กับ Jordi Meya Dominguez มีส่วนร่วมในผลงาน ร้อยละ 50

รองศาสตราจารย์ ดร. จงสวัสดิ์ จงวัฒน์ผล

รองอธิการบดีฝ่ายวิจัยและบริการวิชาการ

อาจารย์ประจำคณะบริหารธุรกิจ สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์

ได้รับรางวัล 1 รางวัล ดังนี้

1. ชื่อบทความ “Operationalizing Design Thinking in Business Intelligence and Analytics Projects” ตีพิมพ์ในวารสาร Decision Sciences Journal of Innovative Education, อยู่ในฐานข้อมูล Scopus และจัดลำดับอยู่ใน SCImago ควอไทล์ที่ 1 ผู้วิจัยมี ส่วนร่วมในผลงาน ร้อยละ 100

ศาสตราจารย์ ดร. ทิพวรรณ หล่อสุวรรณรัตน์

อาจารย์ประจำคณะรัฐประศาสนศาสตร์ สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์
ได้รับรางวัล 1 รางวัล ดังนี้

1.ชื่อบทความ “Fostering innovation performance from a sustainable development perspective: towards a research agenda”

ตีพิมพ์ในวารสาร International Journal of Innovation and Sustainable Development อยู่ในฐานข้อมูล Scopus และ จัดลำดับอยู่ใน SCImago ควอไทล์ที่ 3 ผู้วิจัยมีส่วนร่วมในผลงาน ร้อยละ 50 กับ Gopi Krishna มีส่วนร่วมในผลงานร้อยละ 50

ศาสตราจารย์ ดร.ศิวัช พงษ์เพียจันทร์

อาจารย์ประจำคณะรัฐประศาสนศาสตร์ สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์
ได้รับรางวัล 2 รางวัล ดังนี้

1.ชื่อบทความ “Long-range Transboundary Atmospheric Transport of Polycyclic Aromatic Hydrocarbons, Carbonaceous Compositions, and Water-soluble Ionic Species in Southern Thailand”

ตีพิมพ์ในวารสาร Aerosol and Air Quality Research อยู่ในฐานข้อมูล Scopus และจัดลำดับอยู่ใน SCImago ควอไทล์ที่ 1 ดำเนินการโดย ศาสตราจารย์ ดร.ศิวัช พงษ์เพียจันทร์ และคณะ โดยผู้วิจัยมีส่วนร่วมในผลงาน ร้อยละ 50 กับ

  1. Chomsri Choochuay  มีส่วนร่วมในผลงาน ร้อยละ 20
  2. Danai Tipmanee       มีส่วนร่วมในผลงาน ร้อยละ 2.5
  3. Woranuch Deelaman  มีส่วนร่วมในผลงาน ร้อยละ 2.5
  4. Oramas Suttinun มีส่วนร่วมในผลงาน ร้อยละ 2.5
  5. Qiyuan Wang               มีส่วนร่วมในผลงาน ร้อยละ 2.5
  6. Li Xing                         มีส่วนร่วมในผลงาน ร้อยละ 2.5
  7. Guohui Li                      มีส่วนร่วมในผลงาน ร้อยละ 2.5
  8. Yongming Han              มีส่วนร่วมในผลงาน ร้อยละ 2.5
  9. Jittree Palakun           มีส่วนร่วมในผลงาน ร้อยละ 2.5
  10. Saran Poshyachinda  มีส่วนร่วมในผลงาน ร้อยละ 2.5
  11. Suparerk Aukkaravittayapun มีส่วนร่วมในผลงาน ร้อยละ 2.5
  12. Vanisa Surapipith      มีส่วนร่วมในผลงาน ร้อยละ 2.5
  13. Junji Cao                    มีส่วนร่วมในผลงาน ร้อยละ 2.5

2.ชื่อบทความ “Impacts of PM2.5 sources on variations in particulate chemical compounds in ambient air of Bangkok, Thailand” ตีพิมพ์ในวารสาร Atmospheric Pollution Research อยู่ในฐานข้อมูล Scopus และจัดลำดับอยู่ใน SCImago ควอไทล์ที่ 2 ดำเนินการโดย ศาสตราจารย์ ดร.ศิวัช พงษ์เพียจันทร์ และคณะ โดยผู้วิจัยมีส่วนร่วมในผลงานร้อยละ 50 กับ

  1. Chomsri Choochuay    มีส่วนร่วมในผลงาน ร้อยละ 20
  2. Danai Tipmanee          มีส่วนร่วมในผลงาน ร้อยละ 10
  3. Oramas Suttinun         มีส่วนร่วมในผลงาน ร้อยละ 2.5
  4. Woranuch Deelaman   มีส่วนร่วมในผลงาน ร้อยละ 2.5
  5. Qiyuan Wang               มีส่วนร่วมในผลงาน ร้อยละ 2.5
  6. Li Xing                         มีส่วนร่วมในผลงาน ร้อยละ 2.5
  7. Guohui Li                       มีส่วนร่วมในผลงาน ร้อยละ 2.5
  8. Yongming Han              มีส่วนร่วมในผลงาน ร้อยละ 2.5
  9. Jittree Palakun           มีส่วนร่วมในผลงาน ร้อยละ 2.5
  10. Junji Cao                    มีส่วนร่วมในผลงาน ร้อยละ 2.5

ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. เกศกานดา จตุรงคโชค

อาจารย์ประจำคณะภาษาและการสื่อสาร สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์
ได้รับรางวัล 1 รางวัล ดังนี้

1.ชื่อบทความ “English @ Work: An Impact of Grammar upon TOEIC Scores”

ตีพิมพ์ในวารสาร International Journal of Innovation, Creativity and Change อยู่ในฐานข้อมูล Scopus และ จัดลำดับอยู่ใน SCImago ควอไทล์ที่ 2 ผู้วิจัยมีส่วนร่วมในผลงานร้อยละ 50 กับ 1. Sutep Tongngam ส่วนร่วมในผลงาน ร้อยละ 40 2. Supamit Chanseawrassamee ส่วนร่วมในผลงาน ร้อยละ 10

รองศาสตราจารย์ ดร. นันทา สู้รักษา

อาจารย์ประจำคณะพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์
ได้รับรางวัล 1 รางวัล ดังนี้

1.ชื่อบทความ “Working Style Assessment (WSA): Instrument Adjustment for the Thai Context”

ตีพิมพ์ในวารสาร Public Organization Review อยู่ในฐานข้อมูล Scopus และจัดลำดับอยู่ใน SCImago ควอไทล์ที่ 2 ผู้วิจัยมีส่วนร่วมในผลงานร้อยละ 50 กับ รองศาสตราจารย์ ดร. อรนุช พฤฒิพิบูลธรรม มีส่วนร่วมในผลงาน ร้อยละ 50